บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11
วันพุธที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2559
บรรยากาศในห้องเรียน
วันนี้อาจารย์มาเช้าเพื่อมาเตรียมความพร้อมการสอนให้นักศึกษา ห้องเรียนไม่ค่อยพร้อมกับการเรียนการสอนเท่าไหร่ เพราะห้องเรียนนี้ไม่มีกระดาษไว้ให้อาจารย์เขียนยกตัวอย่างให้นักศึกษาเห็นภาพชัดเจน อาจารย์สอนและอธิบายงานให้นักนักศึกษฟังอย่างตั้งใจ และขอดูงานการเขียนแผนการสอนทั้ง 5 วันของนักศึกษาแต่ล่ะุกลุ่ม อาจารย์ใก้นักศึกษาแต่ล่ะกลุ่มนั่งรวมกันเป็นกลุ่มเรียงตามวัน จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ หลังจากนั้นอาจารย์ก็จะถามนักศึกษาที่เขียนแผนของวันจัทร์ว่าเขียนแผนการเรียนการสอนแบบไกนบ้าง เพื่อที่จะเอามาแชร์ของแตลกลุ่มว่า เราควรปรับเปลี่ยนแก้ไขเพิ่มอะไรบ้าง จากที่ฟังการเขียนแผนของแต่ล่ะกลุ่ม
การเขียนแผนทั้ง 5 วัน มีหัวข้อดังนี้
1.วันจันทร์ ประเภท หรือ ชนิด
2.วันอังคาร ลักษณะ
3.วันพุธ การดูแลรักษา
4.วันพฤหัสบดี ประโยชน์
5.วันศุกร์ ข้อควรระวัง
หลังจากที่อาจารย์ได้สอนเสร็จแล้ว ต่อไปก็คือหน้าที่ของนักศึกษาที่จะต้องออกมานำเสนอ บทความ วิจัย และโทรทัศน์ครู ของแต่ละอาทิตย์
นำเสนอบทความ นางสาวชื่นนภา เพิ่มพูล
เรื่อง หลักการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำกรับเด็กปฐมวัย
ลักษณะการจัดประสบการณืคณิตศาสตร์
การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย หมายถึง การจัดกิจกรรมต่างๆที่เปิดโอกาสให้เด็กได้กระทำด้วยตัวเองผ่านการเล่น การได้สัมผัส เป็นต้น
หลัการจัดประสบการณืที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้
1.จัดให้สอดคล้องกับวัย
2.เน้นให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตัวเอง
3.จัดสภาพแวดพล้อมและสภาพการเรียนรู้
4.วางแผนการทำกิจกรรมอย่างเป็นขั้นตอน
5.ครูต้องมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก
6.สร้างความคุ้นเคยให้กับเด็ก
การจักการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามหลักสูตร
การสอนโดยใช้ศูนย์ทางคณิตศาสตร์
การจักการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามหลักสูตร ควรเน้นให้เด็กเกิดความคิดรวมยอด และทักษะพื้นฐานทางการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ในกิจกรรมเสรี
การสอนโดยใช้ศูนย์ทางคณิตศาสตร์จะจัดตามความเหมาะสม และจัให้สัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้ ตามความสนใจของเด็ก เช่นการทำขนม การเล่นโคลน การทดลองต่างๆเป็นต้น
การนำเสนอโทรทัศน์ครู นางสาวสุดารัตน์ อาจจุฬา
คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
บรรยายโดย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ไสยวรรณ
การจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กควรเน้นการให้เด็กได้มีโอกาสจัด
กระทำ กับวัตถุประสงค์ต่าง ๆ
เพราะเด็กในวัยนี้เรียนรู้โดยอาศัยประสาทสัมผัสรับรู้และการเคลื่อนไหว
เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา
การจัดการเรียนรู้เน้นให้เด็กได้พัฒนาประสาทสัมผัสให้มากที่สุด
และกระตุ้นให้เด็กได้คิดและมีโอกาสจัดกระทำ หรือลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
รวมทั้งเปิดโอกาสให้เด็กได้สัมผัสแตะต้อง ได้เห็นสิ่งต่าง ๆ
หรือเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ โดยผ่านประสาทสัมผัสแตะต้อง ได้เห็นสิ่งใหม่ ๆ
ซึ่งวิธีการดังกล่าวจะช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ รอบตัว
การจัดการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยหมายถึง
การจัดสภาพการณ์ในชีวิตประจำวันของเด็กเป็นฐานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ซึ่ง
ครูต้องวางแผนการจัดการเรียนรู้เป็นอย่างดี
ประกอบด้วยกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กค้นคว้า แก้ปัญหา
พัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และความคิดรวบยอด
ที่เหมาะสมกับระดับพัฒนาการ เด็กแต่ละวัยจะมีความสามารถเฉพาะ
เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง
บรรยากาศการเรียนต้องไม่เคร่งเครียดเด็กรู้สึกสบายๆในขณะเรียน
เห็นความสัมพันธ์ของคณิตศาสตร์ในธรรมชาติ บ้าน โรงเรียน
กิจกรรมสอดคล้องกับชีวิตประจำวันและเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมจะช่วยพัฒนา
ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และความคิดรวบยอดได้ดีขึ้น
ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วยความสามารถต่างๆดังนี้
- การจำแนกประเภท
- การจัดหมวดหมู่
- การเรียงลำดับ
- การเปรียบเทียบ
- รูปร่างรูปทรง
- พื้นที่
- การชั่งตวงวัด
- การนับ
- การรู้จักตัวเลข
- รู้จักความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนกับตัวเลข
- เวลา
- การเพิ่มและลดจำนวน
จำนวนและตัวเลข
เด็กปฐมวัยหากได้เรียนรู้จากการปฏิบัติโดยการใช้สื่อของจริงจะส่งผลให้มี
ทักษะการรับรู้เชิงจำนวนเนื่องจากธรรมชาติได้สร้างให้สมองของเด็กมีบริเวณ
ที่เกี่ยวข้อง กับการรับรู้เชิงจำนวน ส่วนของสมองอย่างน้อย 3
บริเวณที่เกี่ยวข้องกับทักษะการรับรู้เชิงจำนวน
สองส่วนแรกอยู่ที่สมองทั้งซีกซ้ายและขวาเกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์ตัวเลข
และบริเวณที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบจำนวน
และบริเวณสุดท้ายอยู่ที่สมองซีกซ้ายคือ
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการนับปากเปล่าและความจำเกี่ยวกับจำนวน การคำนวณ
โดยสมองทั้ง 3 ส่วนจะทำงานร่วมกัน
พัฒนาการด้านการรับรู้เชิงจำนวนและคณิตศาสตร์เริ่มตั้งแต่ปฐมวัยและพัฒนา
เรื่อยไปจนถึงวัยผู้ใหญ่
ประสบการณ์การเรียนรู้ 3
รูปแบบ คือ
1. ประสบการณ์การเรียนรู้ตามธรรมชาติ (Naturalistic Experiences)
2. ประสบการณ์จากการเรียนรู้แบบไม่เป็นทางการ (Informal Learning Experiences)
3. ประสบการณ์จากการเรียนรู้แบบมี สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ขอบข่ายของเนื้อหาทางคณิตศาสตร์ที่เด็กปฐมวัยโครงสร้าง
(Structure
Learning Experiences) สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เป็น
ควรได้เรียนรู้และมีความสัมพันธ์กับหลักสูตร
ทักษะที่ได้
1.ทักษะองค์ประกอบความรู้
2.ทักษะการลงมือปฏิบัติในการทำกิจกกรม
3.ทักษะการตอบคำถามอาจารย์
4.ทักษะการฟังการนำเสนองานของเพื่อน
5.ทักษะการใช้เทคโนโลยี
6.ทักษะการคิดวิเคราะห์
2.ทักษะการลงมือปฏิบัติในการทำกิจกกรม
3.ทักษะการตอบคำถามอาจารย์
4.ทักษะการฟังการนำเสนองานของเพื่อน
5.ทักษะการใช้เทคโนโลยี
6.ทักษะการคิดวิเคราะห์
การนำเอาไปประยุกต์ใช้
2.สามารถให้นักเรียนได้ใช้กระบวนการคิดอย่างไม่เป็นทางการกับกิจกรรมในชีวิต ประจำวันได้สามารถนำแนวทางการเรียนการสอนที่ถูกต้องไปใช้กับเด็กปฐมวัยได้จริง
เทคนิคการสอนของอาจารย์
1. บรรยายเนื้อหาทางคณิตศาสตร์
2. ให้นักศึกษาเรียนรู้จากวิดีโอ
3. เปิดโอกาศให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น คิดอย่างมีเหตุผล
1. บรรยายเนื้อหาทางคณิตศาสตร์
2. ให้นักศึกษาเรียนรู้จากวิดีโอ
3. เปิดโอกาศให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น คิดอย่างมีเหตุผล
4.สอนให้เหตุและสอดคล้องกัน โดยอาจารย์จะสอดแทรกเรื่องคุณธรรมไปด้วย
5.บรรยายเนื้อหาการเรียนครบถ้วนและเข้าใจ