วันพฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2559


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8 

วันพุธที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2559

ไปศึกษาดูงานที่โรงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์

 สื่อและกิจกรรมการจัดสภาพแวดล้อมทักษะทางคณิตศาสตร์ของโรงเรียนพิบูลเวศม์

 


          
        นี้คือการจัดกิจกรรมทางคณิตศาสตร์โดยการให้เด็กนับจำนวนเงินและรู้ค่าของจำนวนเงิน และเหรียยต่างๆของจำนวนเงินว่ามีค่าเท่าไหร่ หลังจากนั้นก็ให้เด็กเขียนค่าของเงินลงในตารางว่ารูปเหรียญแต่ล่ะเหรียญมีค่าเท่าไหร่






 

         นี้คือมุมบล็อกทางคณิตศาสตร์จะมีสื่อต่างๆที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์มากมาย เช่น นาฬิกา บล็อกตัวเลข ลูกคิด เลขการวัดความยาว รูปทรงต่างๆ เป็นต้น




  
        นี้คือกิจกรรมการชีกแปะกระดาษ โดยครูจะมีภาพต้นส้มให้เด็กแต่ล่ะคน จะมีคณิตศาสตร์เข้าไปเกี่ยวด้วยคือ ก่อนที่จะชีกแปะลูกส้ม คือก็จให้เด็กๆนับผลส้มของตัวเองว่าผลส้มของตัวเองมีจำนวนกี่ผล


           นี้คือผลงานของเด็กๆที่โปรเจตเกี่ยวกับดินน้ำมันเสร็จแล้ว ครูเลยนำมาวางโชเพื่อเอาไว้ให้เด็กๆได้ดูกัน กิจกรรมนี้ก็เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ คือ เวลาที่จะปั่นรูปอะไรเด็กๆก็ต้องแบ่งและกะดินน้ำมันให้เหมาะสมกับรูปต่างๆที่เราจะปั่น การที่เราปั่นรูปต่างๆก็จะมีรูปทรงเข้ามาเกี่ยวด้วย  

 

 
         
          นี้คือสื่อที่ชั่งนำหนัก และนาฬิกาทราย สื่อนี้เอาไว้ให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องของน้ำหนักของสิ่งต่างๆที่เด็กเอามาชั่ง และเรียนรู้เรื่องของเวลา นาฬิกาทรายเหมาะกับเด้กเพราะเวลาเด็กทำกิจกรรมที่ต้องตั้งเวลาครูอาจจะไม่ใช้นาฬิกาตั้งเพราะเด็กๆอาจจะดูไม่เป็น แต่ครูอาจใช้นาฬิกาทรายบอกเวลาได้




          กิจกรรมบทบาทสมมติให้เด็กได้เล่นด้วยกัน การเล่นกิจกรรมนี้อาจจะเล่นเป็นแม่ค้าหรือคนซื้อ เราอาจจะเอากิจกรรมนี้มาเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ก็ได้
 


 การให้เด็กทำกิจกรรมนี้ก็จะให้เดกได้รู้จักจำนวนลบเลข 

 



         การระดมความคิดเป็นการเสนอความคิดของเด็กแต่ละคนที่สนใจจะศึกษาเรื่องต่างๆแล้ว ให้สมาชิกทั้งหมดในห้องร่วมกันลงความเห็นว่าควรจะเรียนเรื่องใดโดยการลง โดยครูจะนับคะแนนของเด็กที่เลือกที่จะเรียนและลงแนนในตาราง

 




 นี้คือสถิติการมาเรียนและไม่มาเรียนของนักเรียนชั้นอนุบาล

 โรงเรียนเน้นการจัดการสอนแบบโครงการ   Project Approach
 





โครงสร้าง

1.การอภิปราย  เด็กได้ร่วมสนทนากับเพื่อนทั้งกลุ่มย่อย ทั้งชั้นเรียนเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจ ทำให้เด็กมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห้นซึ่งกันและกัน

2.การทำงานภาคสนาม  ทำงานภาคสนามในที่นี้หมายถงเด็กจะได้รับประสบการณ์ตรงจากการไปศึกาานอกสถานที่

3.การนำเสนอประสบการณ์  การนำเสนอประสบการณ์ช่วยให้เด็กได้ทบทวนและจัดระบบประสบการณ์ของตนเอง สิ่งที่นำเสนออาจมาจากการอภิปราย หาหัวข้อที่สนใจการกำหนดคำถามการนำเสนอประสบการณ์ที่ตนเองได้เรียนรู้

4.การสืบค้น  การสืบค้นสามารถใช้ข้อมูลที่หลากหลายวิธีตามความสนใจของเด็ก เพื่อค้นหาคำตอบของคำถามที่ตั้งไว้ เด้กอาจสัมภาษณ์พ่อแม่ บุคคลในครอบครัว

5.การจักการแสดง  ผลงานของเด้กทั้งที่เป็นรายบุคคล รายกลุ่ม วึ่งสามรถนำมาจัดแสดงได้ทุกระยะการดำเนินการตามโครงการ

จากโครงสร้างทั้ง 5 แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่

ขั้นที่ 1 ระยะเริ่มต้น  เป็นระยความสนใจของเด็ก กำหนดหัวข้อเรื่อง
ขั้นที่ 2 ระยะดำเนินโครงการ  เป็นระยะค้นหาคำตอบ ที่อยากรู้
ขั้นที่ 3 สรุปโครงงาน  ระยะสิ้นสุดความสนใจ การสรุปและทบทวน

จัดกิจกรรมตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 6 สาระ

สาระที่ 1  จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่ 2  การวัด
สาระที่ 3  เลขาคณิต
สาระที่ 4  พีชคณิต
สาระที่ 5  การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6  ทักษะและกระบวนทางคณิตศาสตร์

ทักษะที่ได้รับทางคณิตศาสตร์

1.เกี่ยวกับรูปทรงและขนาด
2.การนับ การบวก ลบเลข
3.การสังเกตและสัมภาษณ์
4.การวัด ความสั้น ยาว
5.การเปรียบเทียบ และเวลา

การจัดกิจกิจกรรมจัดครบทั้ง 6 กิจกรรม ได้แก่

1.กิจกรรมสร้างสรรค์
2.กิจกรรมเสรี
3.กิจกรรมเสริมประสบการณ์
4.กิจกรรมกลางแจ้ง
5.กิจกรรมเกมศึกษา
6. กิจกรรมเคลื่อนไหว

การวัดและประเมินผล 

1.การสังเกต และสัมภาษ
2.การฟัง การดู
3.การดูผลงาน และวิเคราะห์
4.การเขียนสรุป

การนำความรู้เอาไปประยุกต์ใช้

1.การนำความรู้จากกการเรียนการสอนและการทำสื่อต่างๆมาปรับใช้กับการสอนได้
2.ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมและโปรเจตต่างๆเพื่อเอามาปรับใช้




 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น